Thursday, October 29, 2015

บีโอดีไม่ผ่านมาตรฐานจุลินทรีย์SMT บำบัดน้ำเสีย ดับกลิ่นเหม็น ลดค่าบีโอดี

ผลิตภัณฑ์  SMT  เป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพชนิดน้ำ  
ผลิตมาจากเชื้อจุลินทรีย์หลากหลายสายพันธุ์ มีจำนวนหลายพันล้านตัว 
มีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายโปรตีน ย่อยสลายไขมัน ย่อยสลายคาร์โบโฮเดรต 
และสลายเซลลูโลส เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการอากาศ  Anaerobic Bacteria 
กลุ่ม Bacillus  subtilis, Bacillus mesentericus, Pediococcus , 
Steptococcusfecalis, Candida utilis, Saccharomyces  cerevisiae
จุลินทรีย์กลุ่มสร้างสรรค์ ที่คัดเลือกสายพันธุ์ มีดังนี้
1. กลุ่มยีสต์ (Yeasts)
ช่วยสร้างสาร Growth Factor ซึ่งสารนี้จะไปช่วยเร่งปฏิกิริยากระตุ้นการเจริญ
เติบโตและแบ่งจำนวนจุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆ ให้มีจำนวนมากขึ้น นอกจากนั้นยัง
ช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยทำให้ของเสียเน่าและเปื่อยทำให้โมเลกุลมีขนาด
เล็กลง ส่งผลทำให้การย่อยสลายง่ายและเร็วขึ้น
กลุ่มยีสต์ยังมีสารเอนไซด์ย่อยสลายอินทรีย์ พวกแป้ง, น้ำตาล ไปเป็นแอลกอฮอล์ 
ซึ่งเป็นสารตั้งต้นให้กลุ่ม Lactic Acid Bacteria
2. กลุ่มผลิตกรดแลคติก (Lactic Acid Bacteria)
เป็นตัวช่วยปรับค่าน้ำ โดยจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะสร้างสภาพความเป็นกรด เพื่อปรับ
ค่า Phของน้ำเน่าเสียและAlkaline (ภาวะความเป็นด่าง) ให้กลับสู่สภาพที่ดีขึ้นและ
สร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์กลุ่มอื่น ๆ 
ที่เป็นกลุ่มสร้างสรรค์
3. กลุ่มสังเคราะห์แสงผลิตออกซิเจนPhotosynthetic Bacteria
กลุ่มนี้จะช่วยสร้างออกซิเจนทำให้น้ำเสียมีปริมาณออกซิเจนมากขึ้น และยังไปกระตุ้น
จุลินทรีย์กลุ่มที่ต้องการออกซิเจนให้มีการแบ่งตัวมากขึ้น ซึ่งกลุ่มนี้ก็กินสารอินทรีย์
ต่าง ๆ เป็นอาหารด้วย ทำให้น้ำสะอาดขึ้น
4. กลุ่มบาซิลลัส (Bacillus Bacteria)
กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีความทนทานสูง ช่วยย่อยสลายกากของเสียที่เป็นสารอินทรีย์ และ
ไขมัน จุลินทรีย์กลุ่มนี้สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี 
ผลิตภัณฑ์ SMT มีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสารชีวภาพ  ที่เป็นตัวการทำให้น้ำเสีย  
และ  กลิ่นเหม็นให้หมดสิ้นไปเนื่องจากผลิตภัณฑ์ SMT เป็นจุลินทรีย์ชนิดน้ำ  เชื้อจุลินทรีย์
จึงมีชีวิต Active ตลอดเวลา ผลการใช้จึงเห็นผลรวดเร็ว ปลอดภัยกว่า การใช้สารเคมี  
ไม่มีสารพิษตกค้าง  และ ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม 
ประสิทธิภาพและคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์  SMT
คุณประโยชน์  จุลินทรีย์SMT มีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสลายสารชีวภาพ โปรตีน  
คาร์โบไฮเดรต และไขมัน  กำจัดกลิ่นเหม็น  ลดค่าบีโอดี และ ซีโอดี อย่างรวดเร็ว
แก้ปัญหา   กลิ่นเหม็นจาก บ่อเกรอะ, บ่อบำบัดน้ำเสีย  ฟุ้งกระจายตามอาคารบริเวณชั้นต่าง ๆ  
และลานจอดรถ ฟุ้งไปตามห้องน้ำ  
วิธีการใช้   นำเชื้อจุลินทรีย์  SMT เทลงบ่อเกรอะ,บ่อไขมัน ,บ่อบำบัดน้ำเสีย ,ชักโครก,
โถปัสสาวะ  เพื่อย่อยสลายกากปฏิกูลของเสีย  เทราดพื้นห้องน้ำ  พื้นห้องเก็บขยะ  ล้างตลาดสด    
เพื่อช่วยขจัดกลิ่นเหม็นหมดสิ้นไป ผลที่จะได้รับช่วยประหยัดพลังงานลดต้นทุนในการบำบัดน้ำเสีย 
ปรับสภาพน้ำเสียให้มีสภาพดีก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติไบโอคลีน ใส่ใจสิ่งแวดล้อม  
ผู้บริโภคมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ปริมาณการใช้จุลินทรีย์SMT สัดส่วนการใช้คือ 4 ครั้งต่อเดือนกรณีปัญหาสะสมมาก
การใช้   1 ลิตร ต่อ  1 ลูกบาศก์เมตร  = 4 ลิตรต่อเดือน
เทลงบ่อเกรอะ และท่อระบายน้ำโดยตรง
ข้อเสนอแนะ   การใช้จุลินทรีย์SMT ปริมาณของจุลินทรีย์SMT กับปริมาณของเสียต้องผัน
แปรตามกันจึงจะได้ผล  ใช้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ  เชื้อจุลินทรีย์  SMT เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่มี
ประสิทธิภาพ และ เข้มข้น
ส่วนประกอบที่สำคัญ   : สารสกัดจากผลไม้หลายชนิด เช่น สับปะรด  มะกรูด  ส้ม
การบริการ :  ทำสัญญารายปีโดยไปเพาะเชื้อจุลินทรีย์ SMT ที่ลูกค้ากำหนดตามปริมาณที่ใช้ 
วิธีการดำเนินการSMT
1.  ให้คำแนะนำและปรึกษาในการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศ
2.  ส่งเจ้าหน้าที่ไปเพาะเชื้อจุลินทรีย์และดูแลตลอดอายุสัญญา
3.  ปริมาณที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนาดบ่อบำบัดน้ำเสียและปริมาณของเสียสัมพันธ์กัน
ติดต่อ
บริษัท เอสเอ็มทีไบโอเทค จำกัด
บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
บริษัท เอ็นทีแอสเสทแมเนจเม้นท์ จำกัด
อาจารย์ประกิตกาญจนาโกวิทย์  มือถือ 085-969-2424
นางสาวนันท์นิชา แทนสง่า  มือถือ 085-704-8443
370/2 อาคารแฟร์ทาวน์เวอร์สุขุมวิท 50 พระโขนงคลองเตยกทม. 10260
โทรศัพท์ 02-742-7474 โทรสาร 02-986-0404
http://www.thaimanage.com/ และ  http://www.prakit.net/   Email :  thaimanage@hotmail.com
http://thaimanage.lnwshop.com/
http://www.pantipmarket.com/items/13886986
http://www.youtube.com/watch?v=SL3013zqeIE
http://libazz.com/smt/
http://thaimanage.superwebsite.com/th/

บีโอดีไม่ผ่านมาตรฐานจุลินทรีย์SMT บำบัดน้ำเสีย ดับกลิ่นเหม็น ลดค่าบีโอดี

ผลิตภัณฑ์  SMT  เป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพชนิดน้ำ  
ผลิตมาจากเชื้อจุลินทรีย์หลากหลายสายพันธุ์ มีจำนวนหลายพันล้านตัว 
มีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายโปรตีน ย่อยสลายไขมัน ย่อยสลายคาร์โบโฮเดรต 
และสลายเซลลูโลส เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการอากาศ  Anaerobic Bacteria 
กลุ่ม Bacillus  subtilis, Bacillus mesentericus, Pediococcus , 
Steptococcusfecalis, Candida utilis, Saccharomyces  cerevisiae
จุลินทรีย์กลุ่มสร้างสรรค์ ที่คัดเลือกสายพันธุ์ มีดังนี้
1. กลุ่มยีสต์ (Yeasts)
ช่วยสร้างสาร Growth Factor ซึ่งสารนี้จะไปช่วยเร่งปฏิกิริยากระตุ้นการเจริญ
เติบโตและแบ่งจำนวนจุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆ ให้มีจำนวนมากขึ้น นอกจากนั้นยัง
ช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยทำให้ของเสียเน่าและเปื่อยทำให้โมเลกุลมีขนาด
เล็กลง ส่งผลทำให้การย่อยสลายง่ายและเร็วขึ้น
กลุ่มยีสต์ยังมีสารเอนไซด์ย่อยสลายอินทรีย์ พวกแป้ง, น้ำตาล ไปเป็นแอลกอฮอล์ 
ซึ่งเป็นสารตั้งต้นให้กลุ่ม Lactic Acid Bacteria
2. กลุ่มผลิตกรดแลคติก (Lactic Acid Bacteria)
เป็นตัวช่วยปรับค่าน้ำ โดยจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะสร้างสภาพความเป็นกรด เพื่อปรับ
ค่า Phของน้ำเน่าเสียและAlkaline (ภาวะความเป็นด่าง) ให้กลับสู่สภาพที่ดีขึ้นและ
สร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์กลุ่มอื่น ๆ 
ที่เป็นกลุ่มสร้างสรรค์
3. กลุ่มสังเคราะห์แสงผลิตออกซิเจนPhotosynthetic Bacteria
กลุ่มนี้จะช่วยสร้างออกซิเจนทำให้น้ำเสียมีปริมาณออกซิเจนมากขึ้น และยังไปกระตุ้น
จุลินทรีย์กลุ่มที่ต้องการออกซิเจนให้มีการแบ่งตัวมากขึ้น ซึ่งกลุ่มนี้ก็กินสารอินทรีย์
ต่าง ๆ เป็นอาหารด้วย ทำให้น้ำสะอาดขึ้น
4. กลุ่มบาซิลลัส (Bacillus Bacteria)
กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีความทนทานสูง ช่วยย่อยสลายกากของเสียที่เป็นสารอินทรีย์ และ
ไขมัน จุลินทรีย์กลุ่มนี้สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี 
ผลิตภัณฑ์ SMT มีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสารชีวภาพ  ที่เป็นตัวการทำให้น้ำเสีย  
และ  กลิ่นเหม็นให้หมดสิ้นไปเนื่องจากผลิตภัณฑ์ SMT เป็นจุลินทรีย์ชนิดน้ำ  เชื้อจุลินทรีย์
จึงมีชีวิต Active ตลอดเวลา ผลการใช้จึงเห็นผลรวดเร็ว ปลอดภัยกว่า การใช้สารเคมี  
ไม่มีสารพิษตกค้าง  และ ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม 
ประสิทธิภาพและคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์  SMT
คุณประโยชน์  จุลินทรีย์SMT มีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสลายสารชีวภาพ โปรตีน  
คาร์โบไฮเดรต และไขมัน  กำจัดกลิ่นเหม็น  ลดค่าบีโอดี และ ซีโอดี อย่างรวดเร็ว
แก้ปัญหา   กลิ่นเหม็นจาก บ่อเกรอะ, บ่อบำบัดน้ำเสีย  ฟุ้งกระจายตามอาคารบริเวณชั้นต่าง ๆ  
และลานจอดรถ ฟุ้งไปตามห้องน้ำ  
วิธีการใช้   นำเชื้อจุลินทรีย์  SMT เทลงบ่อเกรอะ,บ่อไขมัน ,บ่อบำบัดน้ำเสีย ,ชักโครก,
โถปัสสาวะ  เพื่อย่อยสลายกากปฏิกูลของเสีย  เทราดพื้นห้องน้ำ  พื้นห้องเก็บขยะ  ล้างตลาดสด    
เพื่อช่วยขจัดกลิ่นเหม็นหมดสิ้นไป ผลที่จะได้รับช่วยประหยัดพลังงานลดต้นทุนในการบำบัดน้ำเสีย 
ปรับสภาพน้ำเสียให้มีสภาพดีก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติไบโอคลีน ใส่ใจสิ่งแวดล้อม  
ผู้บริโภคมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ปริมาณการใช้จุลินทรีย์SMT สัดส่วนการใช้คือ 4 ครั้งต่อเดือนกรณีปัญหาสะสมมาก
การใช้   1 ลิตร ต่อ  1 ลูกบาศก์เมตร  = 4 ลิตรต่อเดือน
เทลงบ่อเกรอะ และท่อระบายน้ำโดยตรง
ข้อเสนอแนะ   การใช้จุลินทรีย์SMT ปริมาณของจุลินทรีย์SMT กับปริมาณของเสียต้องผัน
แปรตามกันจึงจะได้ผล  ใช้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ  เชื้อจุลินทรีย์  SMT เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่มี
ประสิทธิภาพ และ เข้มข้น
ส่วนประกอบที่สำคัญ   : สารสกัดจากผลไม้หลายชนิด เช่น สับปะรด  มะกรูด  ส้ม
การบริการ :  ทำสัญญารายปีโดยไปเพาะเชื้อจุลินทรีย์ SMT ที่ลูกค้ากำหนดตามปริมาณที่ใช้ 
วิธีการดำเนินการSMT
1.  ให้คำแนะนำและปรึกษาในการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศ
2.  ส่งเจ้าหน้าที่ไปเพาะเชื้อจุลินทรีย์และดูแลตลอดอายุสัญญา
3.  ปริมาณที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนาดบ่อบำบัดน้ำเสียและปริมาณของเสียสัมพันธ์กัน
ติดต่อ
บริษัท เอสเอ็มทีไบโอเทค จำกัด
บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
บริษัท เอ็นทีแอสเสทแมเนจเม้นท์ จำกัด
อาจารย์ประกิตกาญจนาโกวิทย์  มือถือ 085-969-2424
นางสาวนันท์นิชา แทนสง่า  มือถือ 085-704-8443
370/2 อาคารแฟร์ทาวน์เวอร์สุขุมวิท 50 พระโขนงคลองเตยกทม. 10260
โทรศัพท์ 02-742-7474 โทรสาร 02-986-0404
http://www.thaimanage.com/ และ  http://www.prakit.net/   Email :  thaimanage@hotmail.com
http://thaimanage.lnwshop.com/
http://www.pantipmarket.com/items/13886986
http://www.youtube.com/watch?v=SL3013zqeIE
http://libazz.com/smt/
http://thaimanage.superwebsite.com/th/

Monday, October 26, 2015

หากท่านมีปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นรบกวนในชีวิตประจำวัน

ผลิตภัณฑ์  SMT  เป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพชนิดน้ำ
ผลิตมาจากเชื้อจุลินทรีย์หลากหลายสายพันธุ์ มีจำนวนหลายพันล้านตัว
มีกลุ่มจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายโปรตีน ย่อยสลายไขมัน ย่อยสลายคาร์โบโฮเดรต
และสลายเซลลูโลส เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่ไม่ต้องการอากาศ  Anaerobic Bacteria
กลุ่ม Bacillus  subtilis, Bacillus mesentericus, Pediococcus ,
Steptococcusfecalis, Candida utilis, Saccharomyces  cerevisiae
จุลินทรีย์กลุ่มสร้างสรรค์ ที่คัดเลือกสายพันธุ์ มีดังนี้
1. กลุ่มยีสต์ (Yeasts)
ช่วยสร้างสาร Growth Factor ซึ่งสารนี้จะไปช่วยเร่งปฏิกิริยากระตุ้นการเจริญ
เติบโตและแบ่งจำนวนจุลินทรีย์กลุ่มอื่นๆ ให้มีจำนวนมากขึ้น นอกจากนั้นยัง
ช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยทำให้ของเสียเน่าและเปื่อยทำให้โมเลกุลมีขนาด
เล็กลง ส่งผลทำให้การย่อยสลายง่ายและเร็วขึ้น
กลุ่มยีสต์ยังมีสารเอนไซด์ย่อยสลายอินทรีย์ พวกแป้ง, น้ำตาล ไปเป็นแอลกอฮอล์
ซึ่งเป็นสารตั้งต้นให้กลุ่ม Lactic Acid Bacteria
2. กลุ่มผลิตกรดแลคติก (Lactic Acid Bacteria)
เป็นตัวช่วยปรับค่าน้ำ โดยจุลินทรีย์กลุ่มนี้จะสร้างสภาพความเป็นกรด เพื่อปรับ
ค่า Phของน้ำเน่าเสียและAlkaline (ภาวะความเป็นด่าง) ให้กลับสู่สภาพที่ดีขึ้นและ
สร้างสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์กลุ่มอื่น ๆ
ที่เป็นกลุ่มสร้างสรรค์
3. กลุ่มสังเคราะห์แสงผลิตออกซิเจนPhotosynthetic Bacteria
กลุ่มนี้จะช่วยสร้างออกซิเจนทำให้น้ำเสียมีปริมาณออกซิเจนมากขึ้น และยังไปกระตุ้น
จุลินทรีย์กลุ่มที่ต้องการออกซิเจนให้มีการแบ่งตัวมากขึ้น ซึ่งกลุ่มนี้ก็กินสารอินทรีย์
ต่าง ๆ เป็นอาหารด้วย ทำให้น้ำสะอาดขึ้น
4. กลุ่มบาซิลลัส (Bacillus Bacteria)
กลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่มีความทนทานสูง ช่วยย่อยสลายกากของเสียที่เป็นสารอินทรีย์ และ
ไขมัน จุลินทรีย์กลุ่มนี้สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี
ผลิตภัณฑ์ SMT มีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสารชีวภาพ  ที่เป็นตัวการทำให้น้ำเสีย
และ  กลิ่นเหม็นให้หมดสิ้นไปเนื่องจากผลิตภัณฑ์ SMT เป็นจุลินทรีย์ชนิดน้ำ  เชื้อจุลินทรีย์
จึงมีชีวิต Active ตลอดเวลา ผลการใช้จึงเห็นผลรวดเร็ว ปลอดภัยกว่า การใช้สารเคมี
ไม่มีสารพิษตกค้าง  และ ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
ประสิทธิภาพและคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์  SMT
คุณประโยชน์  จุลินทรีย์SMT มีประสิทธิภาพสูงในการย่อยสลายสารชีวภาพ โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต และไขมัน  กำจัดกลิ่นเหม็น  ลดค่าบีโอดี และ ซีโอดี อย่างรวดเร็ว
แก้ปัญหา   กลิ่นเหม็นจาก บ่อเกรอะ, บ่อบำบัดน้ำเสีย  ฟุ้งกระจายตามอาคารบริเวณชั้นต่าง ๆ
และลานจอดรถ ฟุ้งไปตามห้องน้ำ
วิธีการใช้   นำเชื้อจุลินทรีย์  SMT เทลงบ่อเกรอะ,บ่อไขมัน ,บ่อบำบัดน้ำเสีย ,ชักโครก,
โถปัสสาวะ  เพื่อย่อยสลายกากปฏิกูลของเสีย  เทราดพื้นห้องน้ำ  พื้นห้องเก็บขยะ  ล้างตลาดสด  
เพื่อช่วยขจัดกลิ่นเหม็นหมดสิ้นไป ผลที่จะได้รับช่วยประหยัดพลังงานลดต้นทุนในการบำบัดน้ำเสีย
ปรับสภาพน้ำเสียให้มีสภาพดีก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติไบโอคลีน ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
ผู้บริโภคมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ปริมาณการใช้จุลินทรีย์SMT สัดส่วนการใช้คือ 4 ครั้งต่อเดือนกรณีปัญหาสะสมมาก
การใช้   1 ลิตร ต่อ  1 ลูกบาศก์เมตร  = 4 ลิตรต่อเดือน
เทลงบ่อเกรอะ และท่อระบายน้ำโดยตรง
ข้อเสนอแนะ   การใช้จุลินทรีย์SMT ปริมาณของจุลินทรีย์SMT กับปริมาณของเสียต้องผัน
แปรตามกันจึงจะได้ผล  ใช้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ  เชื้อจุลินทรีย์  SMT เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่มี
ประสิทธิภาพ และ เข้มข้น
ส่วนประกอบที่สำคัญ   : สารสกัดจากผลไม้หลายชนิด เช่น สับปะรด  มะกรูด  ส้ม
การบริการ :  ทำสัญญารายปีโดยไปเพาะเชื้อจุลินทรีย์ SMT ที่ลูกค้ากำหนดตามปริมาณที่ใช้
วิธีการดำเนินการSMT
1.  ให้คำแนะนำและปรึกษาในการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์ย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศ
2.  ส่งเจ้าหน้าที่ไปเพาะเชื้อจุลินทรีย์และดูแลตลอดอายุสัญญา
3.  ปริมาณที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนาดบ่อบำบัดน้ำเสียและปริมาณของเสียสัมพันธ์กัน
ติดต่อ
บริษัท เอสเอ็มทีไบโอเทค จำกัด
บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
บริษัท เอ็นทีแอสเสทแมเนจเม้นท์ จำกัด
อาจารย์ประกิตกาญจนาโกวิทย์  มือถือ 085-969-2424
นางสาวนันท์นิชา แทนสง่า  มือถือ 085-704-8443
370/2 อาคารแฟร์ทาวน์เวอร์สุขุมวิท 50 พระโขนงคลองเตยกทม. 10260
โทรศัพท์ 02-742-7474 โทรสาร 02-986-0404
http://www.thaimanage.com/ และ  http://www.prakit.net/   Email :  thaimanage@hotmail.com
http://thaimanage.lnwshop.com/
http://www.pantipmarket.com/items/13886986
http://www.youtube.com/watch?v=SL3013zqeIE
http://libazz.com/smt/
http://thaimanage.superwebsite.com/th/

รับจดทะเบียนนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร

บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
การจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร
       เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 กฎกระทรวง
และระเบียบกรมที่ดิน บริษัท เอ็นที แอสเสท แมเนจเม้นท์ จำกัด    
ขอเสนอบริการจดทะเบียนจัดตั้ง นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ขอบเขตการให้บริการจดทะเบียนนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร      
1.  ให้คำปรึกษาทั่วไปเกี่ยวกับการจดทะเบียนนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร
2.  ให้คำปรึกษาทั่วไปเกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543
     กฎกระทรวงระเบียบของคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลางและระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.  จัดทำแผนงานการจดทะเบียนนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร
4.  ให้คำแนะนำกับเจ้าของโครงการและสมาชิกหมู่บ้านเกี่ยวกับการเตรียมการ
5.  สำรวจผังจัดสรรและรายการทรัพย์สิน
6.  จัดทำบัญชีทรัพย์สิน
6.1  รายการสาธารณูปโภค
6.2  รายการบริการสาธารณะ
7.  ยกร่างข้อบังคับและกฎระเบียบของหมู่บ้านโดยความเห็นชอบของเจ้าของโครงการ
8.  จัดทำหนังสือแจ้งผู้ซื้อและสมาชิกหมู่บ้านเพื่อเตรียมการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
9.  จัดทำเอกสารเตรียมการประชุมใหญ่
10.  จัดส่งหนังสือเชิญประชุมใหญ่
11.  ดำเนินการประชุมใหญ่สมาชิกหมู่บ้าน
12.  จัดทำรายงานการประชุม
13.  จัดทำเอกสารยื่นจดทะเบียน
14.  เป็นตัวแทนดำเนินการยื่นจดทะเบียน
15.  รวบรวมเอกสารของนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรฯที่ได้จดทะเบียน
       จัดตั้งเป็นนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรเรียบร้อยแล้วส่งมอบให้แก่
       เจ้าของโครงการและ/หรือคณะกรรมการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรที่ได้จัดตั้งขึ้น
ขั้นตอนในการจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร
รวมรวบเอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลฯ
เจ้าของโครงการมีหนังสือ (โดยจดหมายลงทะเบียนตอบ-รับ) แจ้งไปยังผู้ซื้อที่ดินจัดสรร
ให้ดำเนินการจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรฯ โดยให้เวลาในการดำเนินการ
จดทะเบียนจัดตั้งไม่น้อยกว่า 180 วัน
กรณีโครงการจัดสรรก่อนปี พ.ศ. 2543
หากเจ้าของโครงการไม่สามารถมีหนังสือแจ้งให้ผู้ซื้อที่ดินดำเนินการจดทะเบียน
จัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรตามข้างต้นได้ ผู้ซื้อที่ดินจัดสรร (คนหนึ่ง)
มีหนังสือแจ้งไปยังผู้ซื้อที่ดินจัดสรรอื่นๆ ขอให้ประชุมเพื่อจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้าน
จัดสรรฯ เนื่องจากเจ้าของโครงการไม่ดูแลซ่อมแซมสาธารณูปโภค
ประกาศหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น 1 ฉบับติดต่อกัน 3 วัน เรื่องให้จัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรฯ
ปิดประกาศจดหมายตามข้อ 2 ณ ที่ตั้งโครงการ โดยมีผู้ซื้อที่ดินจัดสรรจำนวน 5 คน
ลงชื่อเป็นพยาน
ส่งหนังสือเชิญประชุมใหญ่ผู้ซื้อที่ดินจัดสรร
จัดประชุมใหญ่เพื่อลงมติให้จดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลฯ  แต่งตั้งผู้แทน
ในการจดทะเบียนจัดตั้ง   นิติบุคคลฯ พิจารณารับรองข้อบังคับ และเลือกตั้ง
คณะกรรมการนิติบุคคลฯ
จัดทำรายงานการประชุมใหญ่ผู้ซื้อที่ดินจัดสรร
ยื่นจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรต่อสำนักงานที่ดิน
สำนักงานที่ดินตรวจสอบเอกสารที่ได้ยื่นจดทะเบียนจัดตั้งนิติฯ
สำนักงานที่ดินประกาศคำขอจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลฯ  (30 วัน)
รับใบสำคัญการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรจากสำนักงานที่ดิน
เอกสารจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร
1.  ใบอนุญาตให้ทำการจัดสรรที่ดิน
2.  รายละเอียดโครงการ/ วิธีการจัดสรร/ ผังโครงการที่ได้รับอนุมัติจากสำนักงานที่ดิน
3.  รายการทรัพย์สินที่เป็นสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ
4.  บัญชีรายชื่อ-ที่อยู่ ของสมาชิกเจ้าของบ้าน
5.  สำเนาโฉนดที่ดินในที่ดินโครงการทุกแปลง (หน้า-หลัง)
6.  สำเนาโฉนดที่ดินที่เป็นสาธารณูปโภค และบริการสาธารณะ เช่น ถนน สวนหย่อม หนังสือรับรอง
     บริษัทฯ เจ้าของโครงการ
7.  บันทึกการตรวจสอบการก่อสร้างสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะของเจ้าพนักงานที่ดินที่
     รับรองว่าได้ก่อสร้างสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะเสร็จเรียบร้อยแล้ว
8.  สำเนาทะเบียนบ้านที่ตั้งสำนักงานนิติบุคคล
อัตราค่าบริการในการจดทะเบียนนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร
       ในการดำเนินการจดทะเบียนนิติบุคคลหมู่บ้านจนแล้วเสร็จเป็นนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร
บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
คิดค่าบริการในการจดทะเบียนจัดตั้ง
นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร ............................. เป็นเงินจำนวน  .......................... บาท  ( ....................... )
ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม  7%  โดยแบ่งจ่ายค่าบริการเป็น 3 งวด  ดังนี้
1)  งวดที่  1  จำนวน .......................... บาท  เมื่อลงนามสัญญาว่าจ้าง
2)  งวดที่  2  จำนวน .......................... บาท  เมื่อประชุมใหญ่จัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรเสร็จ          
      เรียบร้อยและจัดทำรายงานการประชุมใหญ่และยื่นจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานที่ดินฯ
3)   งวดที่  3  จำนวน  .......................... บาท  เมื่อได้รับหนังสือสำคัญการจด
      ทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรจากเจ้าพนักงานที่ดิน
อัตราค่าบริการดังกล่าวข้างต้นรวมถึง
1.  ค่าธรรมเนียมราชการและค่าใช้จ่ายทางราชการ
2.  ค่าประกาศหนังสือพิมพ์
3.  ค่าส่งจดหมายลงทะเบียนไปยังผู้ซื้อที่ดินจัดสรร
4.  ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จำเป็นในการดำเนินการจดทะเบียนนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร
หมายเหตุ :
โครงการเป็นผู้จัดเตรียมสถานที่ประชุม พร้อมโต๊ะ / เก้าอี้  /  เครื่องเสียง
โครงการเป็นผู้จัดเตรียมสำเนาโฉนดที่ดินทุกแปลง ณ ปัจจุบัน และเอกสาร
อื่นๆ( ถ่ายเอกสารจากสำนักงานที่ดิน )
โครงการเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการจัดประชุมใหญ่
ติดต่อ
บริษัท เอสเอ็มทีไบโอเทค จำกัด
บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
บริษัท เอ็นทีแอสเสทแมเนจเม้นท์ จำกัด
อาจารย์ประกิตกาญจนาโกวิทย์  มือถือ 085-969-2424
นางสาวนันท์นิชา แทนสง่า  มือถือ 085-704-8443
370/2 อาคารแฟร์ทาวน์เวอร์สุขุมวิท 50 พระโขนงคลองเตยกทม. 10260
โทรศัพท์ 02-742-7474 โทรสาร 02-986-0404
www.thaimanage.com     Email :  thaimanage@hotmail.com
http://www.thaimanage.com/
http://www.prakit.net/
thaimanage@hotmail.com

Thursday, October 15, 2015

ผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด คือ ใคร

ผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด คือ ใคร
1.           ถาม  :  นิติบุคคลอาคารชุดจำเป็นต้องมีผู้จัดการทุกอาคารชุดหรือไม่
ตอบ  :  ตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 บัญญัติให้ติบุคคลอาคารชุด มีผู้จัดการคนหนึ่งซึ่งจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลก็ได้
ในกรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้จัดการ ให้นิติบุคคลแต่งตั้งบุคคลธรรมดาคนหนึ่งเป็นผู้ดำเนินการแทนนิติบุคคลในฐานะผู้จัดการ
2.           ถาม  :  ผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุดต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
ตอบ  :  ตามมาตรา 35/1 แห่งพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 บัญญัติให้ผู้จัดการต้องมีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์ และต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(1) เป็นบุคคลล้มละลาย
(2) เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
(3) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ องค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือเอกชน ฐานทุจริตต่อหน้าที่
(4) เคยได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(5) เคยถูกถอดถอนจากการเป็นผู้จัดการเพราะเหตุทุจริต หรือมีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี
(6) มีหนี้ค้างชำระค่าใช้จ่ายตามมาตรา 18
ในกรณีที่ผู้จัดการเป็นนิติบุคคล ผู้ดำเนินการแทนนิติบุคคลนั้นในฐานะผู้จัดการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามวรรคหนึ่งด้วย
3.           ถาม  :  ใครเป็นผู้แต่งตั้งผู้จัดการ
ตอบ  :  ผู้จัดการคนแรกเป็นบุคคลที่ระบุไว้ในขณะจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด ดังนั้น โดยข้อเท็จจริงส่วนใหญ่จึงเป็นคนของผู้ประกอบการ   เมื่อผู้จัดการคนแรกพ้นจากตำแหน่ง การแต่งตั้งให้เป็นไปตามมติที่ประชุมใหญ่ของเจ้าของร่วมตามมาตรา 49 คือได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจำนวนคะแนนเสียงของเจ้าของร่วมทั้งหมด
4.           ถาม  :  การแต่งตั้งผู้จัดการต้องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือไม่
ตอบ  :  กฎหมายกำหนดให้ผู้จัดการซึ่งได้รับการแต่งตั้งนำหลักฐานหรือสัญญาจ้างไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมมีมติ
5.           ถาม  :  การแต่งตั้งผู้จัดการมีผลเมื่อใด
ตอบ  :  มีผลเมื่อที่ประชุมใหญ่มีมติแต่งตั้ง แต่อาจไม่สามารถใช้ยันแก่บุคคลภายนอกได้ หากยังไม่นำไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
6.           ถาม  :  ถ้าผู้จัดการไม่นำหลักฐานหรือสัญญาจ้างไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมมีมติ ผลจะเป็นอย่างไร
ตอบ  :  มติที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมยังมีผล แต่ผู้จัดการมีโทษฐานฝ่าฝืนตามมาตรา 69 แห่งพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
7.           ถาม  :  ผู้จัดการจะพ้นจากตำแหน่งเมื่อไร
ตอบ  :  ผู้จัดการจะพ้นจากตำแหน่งเมื่อ 
(1) ตายหรือสิ้นสภาพการเป็นนิติบุคคล
(2) ลาออก 
(3) สิ้นสุดระยะเวลาตามที่กำหนดไว้ในสัญญาจ้าง
(4) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 35/1
(5) ไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้หรือกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้ หรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในสัญญาจ้างและที่ประชุมใหญ่ เจ้าของร่วมมีมติให้ถอดถอนตามมาตรา 49
(6) ที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมมีมติให้ถอดถอน
8.           ถาม  :  กฎหมายกำหนดอำนาจหน้าที่ของผู้จัดการไว้อย่างไร 
ตอบ  :  ตามมาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ได้บัญญัติให้ผู้จัดการมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 
(1) ปฏิบัติการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา 33ตามข้อบังคับหรือตามมติของที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมหรือคณะกรรมการ ทั้งนี้ โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย
(2) ในกรณีจำเป็นและรีบด่วน ให้ผู้จัดการมีอำนาจโดยความริเริ่มของตนเองสั่งหรือกระทำการ
ใด ๆ เกี่ยวกับความปลอดภัยของอาคารดังเช่นวิญญูชนจะพึงรักษาและจัดการทรัพย์สินของตนเอง
(3) จัดให้มีการดูแลความปลอดภัยหรือความสงบเรียบร้อยภายในอาคารชุด
(4) เป็นผู้แทนของนิติบุคคลอาคารชุด
(5) จัดให้มีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายประจำเดือน และติดประกาศให้เจ้าของร่วมทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันสิ้นเดือนและต้องติดประกาศเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้าวันต่อเนื่องกัน
(6) ฟ้องบังคับชำระหนี้จากเจ้าของร่วมที่ค้างชำระค่าใช้จ่ายตามมาตรา 18 เกินหกเดือนขึ้นไป 
(7) หน้าที่อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ปัจจุบันยังไม่มีกฎกระทรวงกำหนดหน้าที่ของผู้จัดการแต่อย่างใด
9.           ถาม  :  ผู้จัดการต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยตนเองทุกเรื่องหรือไม่
ตอบ  :  โดยปกติผู้จัดการต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยตนเอง แต่มีข้อยกเว้นที่สามารถมอบหมายให้ผู้อื่นทำแทนได้ 2 กรณี
1. กิจการที่กำหนดไว้ในข้อบังคับให้ผู้อื่นทำแทนได้
2. ได้รับมติของที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมตามมาตรา 49 (2) คือได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจำนวนคะแนนเสียงของเจ้าของร่วมทั้งหมดเป็นเรื่อง ๆ ไปให้สามารถมอบหมายให้ผู้อื่นทำแทนได้
10.  ถาม  :  ผู้จัดการต้องปฏิบัติหน้าที่ตลอดเวลาหรือไม่
ตอบ  :  การปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการ กฎหมายกำหนดให้ต้องอยู่ปฏิบัติหน้าที่ห้าที่ตามเวลาที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ ดังนั้น ในข้อบังคับของนิติบุคคล จึงควรกำหนดเวลาการทำงานของผู้จัดการไว้ให้ชัดเจนด้วย เช่น ให้ผู้จัดการปฏิบัติหน้าที่ที่สำนักงานนิติบุคคลอาคารชุดทุกวันตั้งแต่เวลา 08.30 - 16.30 น. เป็นต้น
11.  ถาม  :  ผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุดที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มีผลใช้บังคับ (4 กรกฎาคม 2551) ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร
ตอบ  :  กฎหมายกำหนดให้ผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุดดังกล่าวดำรงตำแหน่งต่อไปจนครบวาระตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ หรือจนกว่าที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมจะมีการแต่งตั้งผู้จัดการขึ้นใหม่
เนื่องจากตามพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ได้เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการแต่งตั้งผู้จัดการจากพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 ค่อนข้างมาก อาทิเช่น ได้เพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ดำรงตำแหน่งผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด จึงจำเป็นต้องกำหนดบทเฉพาะกาลไว้ให้ผู้จัดการซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 ดำรงตำแหน่งต่อไปจนกว่าจะครบวาระตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ หรือจนกว่าที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมจะมีการแต่งตั้งผู้จัดการขึ้นใหม่
หากผู้จัดการดำรงตำแหน่งครบวาระตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับแล้ว แต่ที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมไม่ได้แต่งตั้งผู้จัดการขึ้นใหม่ ในระหว่างนั้นถือว่าไม่มีผู้จัดการในทางปฏิบัติ คณะกรรมการควรแต่งตั้งกรรมการคนหนึ่งขึ้นทำหน้าที่ผู้จัดการ (ชั่วคราว)
12.  ถาม  :  ในกรณีที่คณะกรรมการแต่งตั้งกรรมการขึ้นทำหน้าที่เป็นผู้จัดการต้องจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือไม่
ตอบ  :  ไม่ต้องนำไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เนื่องจากไม่ใช่เป็นเรื่องแต่งตั้งผู้จัดการ แต่เป็นกรณีที่คณะกรรมการแต่งตั้งกรรมการขึ้นทำหน้าที่เป็นผู้จัดการ (ชั่วคราว) เนื่องจากไม่มีผู้จัดการหรือผู้จัดการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ตามปกติเกินเจ็ดวัน
13.  ถาม  :  ผู้จัดการจะต้องรับโทษตามพระราชบัญญัติอาคารชุดในกรณีใดบ้าง และมีโทษอย่างไร
ตอบ  :  ตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาคารชุด (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2551 ได้กำหนดโทษไว้สำหรับผู้จัดการ ดังนี้ 
(1)  กรณีไม่ออกหนังสือรับรองการปลอดหนี้ให้แก่เจ้าของร่วมภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับคำร้องขอและเจ้าของร่วมได้ชำระหนี้อันเกิดจากค่าใช้จ่ายตามมาตรา 18 ครบถ้วนแล้ว
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาทและปรับอีกไม่เกินวันละห้าร้อยบาท ตลอดเวลาที่ยังไม่ปฏิบัติให้ถูกต้อง
(2)  กรณีไม่จัดให้มีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายประจำเดือนและติดประกาศให้เจ้าของร่วมทราบภายในสิบห้าวันนับแต่วันสิ้นเดือน และต้องติดประกาศเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้าวันต่อเนื่องกัน
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาทและปรับอีกไม่เกินวันละห้าร้อยบาท ตลอดเวลาที่ยังปฏิบัติไม่ถูกต้อง
(3)  กรณีไม่นำมติที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมเรื่องการแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมมีมติ
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
(4)  กรณีไม่นำมติที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมเรื่องแต่งตั้งผู้จัดการไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมมีมติ
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
(5)  กรณีไม่นำมติที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมเรื่องแต่งตั้งกรรมการนิติบุคคลอาคารชุดไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมมีมติ
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
(6)  กรณีไม่จัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญครั้งแรกภายในหกเดือนนับแต่วันที่ได้จดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดเพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการและพิจารณาให้ความเห็นชอบข้อบังคับ และผู้จัดการที่จดทะเบียนตามที่ได้ยื่นขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดไว้แล้ว
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
(7)  อาจต้องถูกลงโทษตามมาตรา 71 ซึ่งเป็นบทกำหนดโทษสำหรับนิติบุคคลอาคารชุดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 38/1 มาตรา 38/2 และมาตรา 38/3 ซึ่งหากไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่ามิได้มีส่วนในการกระทำความผิดนั้น โดยมาตรา 38/1, 38/2,38/3 มีรายละเอียดดังนี้
มาตรา 38/1 ให้นิติบุคคลอาคารชุดจัดทำงบดุลอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกรอบสิบสองเดือนโดยให้ถือว่าเป็นรอบปีในทางบัญชีของนิติบุคคลอาคารชุดนั้น
งบดุลตามวรรคหนึ่งต้องมีรายการแสดงจำนวนสินทรัพย์และหนี้สินของนิติบุคคลอาคารชุดกับทั้งบัญชีรายรับรายจ่าย และต้องจัดให้มีผู้สอบบัญชีตรวจสอบ แล้วนำเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี
มาตรา 38/2 ให้นิติบุคคลอาคารชุดจัดทำรายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินงานเสนอต่อที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วมพร้อมกับการเสนองบดุล และให้ส่งสำเนาเอกสารดังกล่าวให้แก่เจ้าของร่วมก่อนวันนัดประชุมใหญ่ล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
มาตรา 38/3 ให้นิติบุคคลอาคารชุดเก็บรักษารายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินงานและงบดุล พร้อมทั้งข้อบังคับไว้ที่สำนักงานของนิติบุคคลอาคารชุดเพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือเจ้าของร่วมตรวจดูได้
รายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินงานและงบดุลตามวรรคหนึ่ง ให้นิติบุคคลอาคารชุดเก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่าสิบปีนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่เจ้าของร่วม
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
Source: สำนักส่งเสริมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ กรมที่ดิน
ติดต่อ
บริษัท เอสเอ็มทีไบโอเทค จำกัด
บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
บริษัท เอ็นทีแอสเสทแมเนจเม้นท์ จำกัด
อาจารย์ประกิตกาญจนาโกวิทย์
นางสาวนันท์นิชา แทนสง่า
370/2 อาคารแฟร์ทาวน์เวอร์สุขุมวิท 50 พระโขนงคลองเตยกทม. 10260
โทรศัพท์ 02-742-7474 โทรสาร 02-986-0404
www.thaimanage.com     Email :  thaimanage@hotmail.com

ด้านการบริหารจัดการ หมู่บ้านจัดสรรและคอนโดมิเนียม

ด้านการบริหารจัดการ หมู่บ้านจัดสรรและคอนโดมิเนียม
·         จัดทำกฎระเบียบต่างๆ เพื่อใช้ในหมู่บ้าน 
·         ดูแลควบคุมการใช้สิทธิประโยชน์ที่ดิน การใช้สาธารณูปโภค และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ 
·         ควบคุมดูแล และดำเนินการในกรณีที่เกิดข้อขัดแย้ง หรือข้อพิพาทเกี่ยวกับการใช้ สาธารณูปโภค 
·         และการใช้ที่ดิน/บ้าน 
·         การให้บริการอื่นๆ ซึ่งอยู่ในขอบเขตหน้าที่ของฝ่ายจัดการโดยไม่ขัดต่อข้อบังคับ  พระราชบัญญัติ 
·         กฎกระทรวง และ/หรือกฎหมายอื่น 
·         ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับหมู่บ้าน 
       ด้านการซ่อมแซมและบำรุงรักษา 
·         วางระบบดูแลบำรุงรักษาในลักษณะของการป้องกัน  สำหรับช่างประจำหมู่บ้าน
·         โดยตรวจสอบ บำรุงรักษา เพื่อยืดอายุการใช้งานของระบบต่างๆ เช่น ระบบไฟฟ้า 
·         ระบบประปา ระบบดับเพลิง ระบบบำบัดน้ำเสีย และวางระบบการให้บริการแก่ผู้พักอาศัย 
·         บริการดูแล แก้ไข ซ่อมแซมงานระบบทั่วไป และให้บริการสำหรับหมู่บ้าน 
·         ควบคุมดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของบริษัทภายนอกให้ดำเนินการตามเงื่อนไขสัญญา
เพื่อให้ระบบต่างๆอยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดีตลอดเวลา 
       ด้านบุคลากร 
·         พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ให้แก่หมู่บ้าน  ( ประจำ ณ หมู่บ้านและบริษัทฯ ) 
·         การพิจารณาคัดเลือกบุคลากร  
·         การจัดทำรายงานการปฏิบัติงานของพนักงาน 
·         การจัดทำกฎระเบียบ  
·         การจัดอบรม/สัมมนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง  
       การจัดซื้อจัดจ้าง 
·         จัดทำรายชื่อผู้ขายสินค้าหรือบริการที่เสนอราคายุติธรรม ซื่อสัตย์ 
·         มีคุณภาพผ่านการพิสูจน์ และรับรองคุณภาพของสินค้า และบริการแล้ว 
·         รวมทั้งให้การบริการดูแลหลังการขายที่ดี 
·         กำหนดคุณสมบัติ และราคากลางของสินค้าหรือบริการที่จะทำการจัดซื้อ/จัดจ้าง 
·         ก่อนเสมอเพื่อสะดวกในการเปรียบเทียบ 
·         การจัดซื้อ/จัดจ้างทุกครั้ง จะต้องมีการเปรียบเทียบคุณสมบัติ และราคาของผู้ขายสินค้า
·         และบริการก่อนเสมอ 
      ด้านบัญชี/การเงิน 
·         วางระบบบัญชี/การเงิน และให้ปฏิบัติตามแนวทางที่ได้วางไว้ 
·         จัดเตรียมเอกสาร ด้านบัญชี/การเงิน เช่น ใบเสร็จรับเงิน 
·         จัดทำงบประมาณและแผนการบริหารการเงินประจำปี  เพื่อให้ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นสมดุลกับรายรับ  
·         จัดทำงบการเงินและงบกระแสเงินสด ให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี 
·         จัดเตรียมการเบิกจ่ายเงิน พร้อมตรวจสอบความถูกต้อง เพื่อให้กรรมการผู้มีอำนาจอนุมัติลงนาม 
·         ติดต่อประสานงานกับธนาคาร เกี่ยวกับ การนำเงินเข้าบัญชี และการเบิกจ่ายเงิน 
·         รายงานสถานะการเงินประจำเดือน ประจำปี เพื่อให้ทราบถึงสถานะทางการเงินตลอดเวลา 
·         จัดเตรียมเอกสารทางบัญชีและการเงิน เพื่อจัดทำงบการเงินประจำปี โดยผ่านการตรวจสอบของบริษัทฯ หรือว่าจ้างผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอกตามที่คณะกรรมการหรือที่ประชุมใหญ่ของสมาชิก 
      ด้านการแจ้งหนี้และเร่งรัดจัดเก็บ 
·         ออกบิลเรียกเก็บค่าบำรุงรักษาและการจัดการสาธารณูปโภค หรือค่าใช้จ่ายพิเศษอื่นๆ 
·         ติดตาม เร่งรัดจัดเก็บค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ได้ออกบิลเรียกเก็บให้ถูกต้องครบถ้วน   
·         ออกหนังสือเตือนให้ชำระค่าใช้จ่ายต่างๆ พร้อมทั้งแจ้งกำหนดค่าปรับ ในกรณี
·         การชำระล่าช้า และ/หรือแจ้งงดการให้บริการสาธารณูปโภคต่างๆและ
แจ้งสำนักงานที่ดินให้ระงับการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน ในกรณีค้างชำระเกิน
     กำหนดตามข้อบังคับของกฎหมาย 
       ด้านการดูแลรักษาความสะอาด 
·         ดูแลรักษาความสะอาดพื้นที่บริการสาธารณะ บริเวณรอบ ๆ หมู่บ้าน 
·         ควบคุมดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานทำความสะอาดอย่างใกล้ชิด  ให้เป็นไปตามเงื่อนไขในสัญญา 
·         ตรวจสอบความสะอาดของพื้นที่ส่วนกลาง  เพื่อให้ได้รับการดูแลและทำความสะอาดอย่างดี 
โดยคำนึงถึงสุขอนามัยของผู้พักอาศัยเป็นสำคัญ 
       ด้านการรักษาความปลอดภัย 
·         จัดให้มีการรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง 
·         ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของพนักงานรักษาความปลอดภัยให้เป็นไปตามเงื่อนไขในสัญญา 
·         ติดตามประสานงานเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดขึ้นจากความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่
ของพนักงานรักษาความปลอดภัย 
       ด้านการดูแลรักษาสวนและภูมิทัศน์ 
·         ตกแต่ง และดูแลรักษาพื้นที่สวนให้มีสภาพสวยงามเสมอ 
·         จัดให้มีพนักงานที่มีความรู้ ความชำนาญคอยดูแลและให้คำแนะนำ 
       ด้านการดูแลสโมสรและสระว่ายน้ำ 
·         ดูแลรักษาความสะอาดพื้นที่สโมสรและสระว่ายน้ำให้สะอาด เรียบร้อย ตลอดเวลา 
·         ดูแลรักษาอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในสโมสรให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ 
·         ให้บริการแก่สมาชิกในการใช้สโมสรและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ 
       ด้านการประกันภัย 
·         ผู้ติดต่อประสานงานในการเอาประกันภัยทรัพย์สินสาธารณูปโภค เกี่ยวกับอัคคีภัย         
·         ภัยเปียกน้ำ  ภัยฟ้าผ่า และภัยจากลมพายุ เป็นต้น 
·         ติดตามเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเมื่อเกิดความเสียหายแก่หมู่บ้าน ตามเงื่อนไขของกรมธรรม์ 
       ด้านการบริการด้านชุมชนสัมพันธ์ 
·         บริษัทฯ มีส่วนงานบริการลูกค้าสัมพันธ์ คอยดูแลและสร้างความสัมพันธ์อันดี
ระหว่างสมาชิกเจ้าของบ้านด้วยกัน และระหว่างสมาชิกเจ้าของบ้านกับบริษัทฯ บริษัทฯ
·          มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อเป็นศูนย์กลางในการติดต่อประสานงานต่างๆ อาทิ
แนะนำกฎข้อบังคับในการพักอาศัย 
ด้านตรวจสอบและควบคุมการให้บริการ 
·         ทำการตรวจสอบ  ประเมินผล และควบคุมการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่อย่างสม่ำเสมอจากหัวหน้างานส่วนกลาง 
·         ทำการตรวจสอบและควบคุมการปฏิบัติงานของบุคคลหรือบริษัทภายนอกที่ว่าจ้างมา 
       การประชุม 
·         การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 
·         ประชุมใหญ่วิสามัญ 
·         ประชุมคณะกรรมการ 
       ด้านการรายงาน 
·         รายงานผลการบริหาร และการปฏิบัติงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับหมู่บ้าน 
·         รายงานสถานะการเงิน รายรับ-รายจ่าย ประจำเดือน และประจำปี 
·         รายงานยอดค้างชำระค่าใช้จ่ายแต่ละเดือน และผลการดำเนินการติดตามทวงถาม     
·         รายงานการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขสาธารณูปโภค 
·         รายงานเหตุการณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และเป็นประโยชน์ต่อหมู่บ้าน 
       ด้านกฎหมาย และนิติกรรม 
·         ให้คำปรึกษา แนะนำข้อกฎหมาย และวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับ 
·         กฎหมายต่างๆ 
·         ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญาต่างๆ เช่น สัญญาซื้อขายบ้านและที่ดิน   
·         สัญญาเช่า เช่าซื้อ และสัญญาอื่นๆ 
·         ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับภาษีอากร และปัญหากฎหมายทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับหมู่บ้าน 
·         ฟ้องร้องดำเนินคดีเพื่อรักษาผลประโยชน์ของหมู่บ้าน ต่อสู้คดีในกรณีที่หมู่บ้านถูกฟ้อง
ติดต่อ
บริษัท เอสเอ็มทีไบโอเทค จำกัด
บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
บริษัท เอ็นทีแอสเสทแมเนจเม้นท์ จำกัด
อาจารย์ประกิตกาญจนาโกวิทย์  มือถือ 085-969-2424
นางสาวนันท์นิชา แทนสง่า  มือถือ 085-704-8443
370/2 อาคารแฟร์ทาวน์เวอร์สุขุมวิท 50 พระโขนงคลองเตยกทม. 10260
โทรศัพท์ 02-742-7474 โทรสาร 02-986-0404
www.thaimanage.com     Email :  thaimanage@hotmail.com
http://www.thaimanage.com/ 
http://www.prakit.net/ 
thaimanage@hotmail.com

การบริหารจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร และอาคารชุด

การบริหารจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร และอาคารชุด
       บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
ขอนำเสนอการให้บริการต่างๆ สำหรับนิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรร 
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่สมาชิกและผู้พักอาศัย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 
       ขอบเขตการให้บริการ 
       ด้านการบริหารจัดการ 
·         จัดทำกฎระเบียบต่างๆ เพื่อใช้ในหมู่บ้าน 
·         ดูแลควบคุมการใช้สิทธิประโยชน์ที่ดิน การใช้สาธารณูปโภค และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ 
·         ควบคุมดูแล และดำเนินการในกรณีที่เกิดข้อขัดแย้ง หรือข้อพิพาทเกี่ยวกับการใช้ สาธารณูปโภค 
·         และการใช้ที่ดิน/บ้าน 
·         การให้บริการอื่นๆ ซึ่งอยู่ในขอบเขตหน้าที่ของฝ่ายจัดการโดยไม่ขัดต่อข้อบังคับ  พระราชบัญญัติ 
·         กฎกระทรวง และ/หรือกฎหมายอื่น 
·         ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับหมู่บ้าน 
       ด้านการซ่อมแซมและบำรุงรักษา 
·         วางระบบดูแลบำรุงรักษาในลักษณะของการป้องกัน  สำหรับช่างประจำหมู่บ้าน
·         โดยตรวจสอบ บำรุงรักษา เพื่อยืดอายุการใช้งานของระบบต่างๆ เช่น ระบบไฟฟ้า 
·         ระบบประปา ระบบดับเพลิง ระบบบำบัดน้ำเสีย และวางระบบการให้บริการแก่ผู้พักอาศัย 
·         บริการดูแล แก้ไข ซ่อมแซมงานระบบทั่วไป และให้บริการสำหรับหมู่บ้าน 
·         ควบคุมดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของบริษัทภายนอกให้ดำเนินการตามเงื่อนไขสัญญา
เพื่อให้ระบบต่างๆอยู่ในสภาพที่ใช้การได้ดีตลอดเวลา 
       ด้านบุคลากร 
·         พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่ให้แก่หมู่บ้าน  ( ประจำ ณ หมู่บ้านและบริษัทฯ ) 
·         การพิจารณาคัดเลือกบุคลากร  
·         การจัดทำรายงานการปฏิบัติงานของพนักงาน 
·         การจัดทำกฎระเบียบ  
·         การจัดอบรม/สัมมนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง  
       การจัดซื้อจัดจ้าง 
·         จัดทำรายชื่อผู้ขายสินค้าหรือบริการที่เสนอราคายุติธรรม ซื่อสัตย์ 
·         มีคุณภาพผ่านการพิสูจน์ และรับรองคุณภาพของสินค้า และบริการแล้ว 
·         รวมทั้งให้การบริการดูแลหลังการขายที่ดี 
·         กำหนดคุณสมบัติ และราคากลางของสินค้าหรือบริการที่จะทำการจัดซื้อ/จัดจ้าง 
·         ก่อนเสมอเพื่อสะดวกในการเปรียบเทียบ 
·         การจัดซื้อ/จัดจ้างทุกครั้ง จะต้องมีการเปรียบเทียบคุณสมบัติ และราคาของผู้ขายสินค้า
·         และบริการก่อนเสมอ 
      ด้านบัญชี/การเงิน 
·         วางระบบบัญชี/การเงิน และให้ปฏิบัติตามแนวทางที่ได้วางไว้ 
·         จัดเตรียมเอกสาร ด้านบัญชี/การเงิน เช่น ใบเสร็จรับเงิน 
·         จัดทำงบประมาณและแผนการบริหารการเงินประจำปี  เพื่อให้ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นสมดุลกับรายรับ  
·         จัดทำงบการเงินและงบกระแสเงินสด ให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี 
·         จัดเตรียมการเบิกจ่ายเงิน พร้อมตรวจสอบความถูกต้อง เพื่อให้กรรมการผู้มีอำนาจอนุมัติลงนาม 
·         ติดต่อประสานงานกับธนาคาร เกี่ยวกับ การนำเงินเข้าบัญชี และการเบิกจ่ายเงิน 
·         รายงานสถานะการเงินประจำเดือน ประจำปี เพื่อให้ทราบถึงสถานะทางการเงินตลอดเวลา 
·         จัดเตรียมเอกสารทางบัญชีและการเงิน เพื่อจัดทำงบการเงินประจำปี โดยผ่านการตรวจสอบของบริษัทฯ หรือว่าจ้างผู้ตรวจสอบบัญชีภายนอกตามที่คณะกรรมการหรือที่ประชุมใหญ่ของสมาชิก 
      ด้านการแจ้งหนี้และเร่งรัดจัดเก็บ 
·         ออกบิลเรียกเก็บค่าบำรุงรักษาและการจัดการสาธารณูปโภค หรือค่าใช้จ่ายพิเศษอื่นๆ 
·         ติดตาม เร่งรัดจัดเก็บค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ได้ออกบิลเรียกเก็บให้ถูกต้องครบถ้วน   
·         ออกหนังสือเตือนให้ชำระค่าใช้จ่ายต่างๆ พร้อมทั้งแจ้งกำหนดค่าปรับ ในกรณี
·         การชำระล่าช้า และ/หรือแจ้งงดการให้บริการสาธารณูปโภคต่างๆและ
แจ้งสำนักงานที่ดินให้ระงับการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน ในกรณีค้างชำระเกิน
     กำหนดตามข้อบังคับของกฎหมาย 
       ด้านการดูแลรักษาความสะอาด 
·         ดูแลรักษาความสะอาดพื้นที่บริการสาธารณะ บริเวณรอบ ๆ หมู่บ้าน 
·         ควบคุมดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานทำความสะอาดอย่างใกล้ชิด  ให้เป็นไปตามเงื่อนไขในสัญญา 
·         ตรวจสอบความสะอาดของพื้นที่ส่วนกลาง  เพื่อให้ได้รับการดูแลและทำความสะอาดอย่างดี 
โดยคำนึงถึงสุขอนามัยของผู้พักอาศัยเป็นสำคัญ 
       ด้านการรักษาความปลอดภัย 
·         จัดให้มีการรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง 
·         ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของพนักงานรักษาความปลอดภัยให้เป็นไปตามเงื่อนไขในสัญญา 
·         ติดตามประสานงานเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดขึ้นจากความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่
ของพนักงานรักษาความปลอดภัย 
       ด้านการดูแลรักษาสวนและภูมิทัศน์ 
·         ตกแต่ง และดูแลรักษาพื้นที่สวนให้มีสภาพสวยงามเสมอ 
·         จัดให้มีพนักงานที่มีความรู้ ความชำนาญคอยดูแลและให้คำแนะนำ 
       ด้านการดูแลสโมสรและสระว่ายน้ำ 
·         ดูแลรักษาความสะอาดพื้นที่สโมสรและสระว่ายน้ำให้สะอาด เรียบร้อย ตลอดเวลา 
·         ดูแลรักษาอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในสโมสรให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ 
·         ให้บริการแก่สมาชิกในการใช้สโมสรและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ 
       ด้านการประกันภัย 
·         ผู้ติดต่อประสานงานในการเอาประกันภัยทรัพย์สินสาธารณูปโภค เกี่ยวกับอัคคีภัย         
·         ภัยเปียกน้ำ  ภัยฟ้าผ่า และภัยจากลมพายุ เป็นต้น 
·         ติดตามเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนเมื่อเกิดความเสียหายแก่หมู่บ้าน ตามเงื่อนไขของกรมธรรม์ 
       ด้านการบริการด้านชุมชนสัมพันธ์ 
·         บริษัทฯ มีส่วนงานบริการลูกค้าสัมพันธ์ คอยดูแลและสร้างความสัมพันธ์อันดี
ระหว่างสมาชิกเจ้าของบ้านด้วยกัน และระหว่างสมาชิกเจ้าของบ้านกับบริษัทฯ บริษัทฯ
·          มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อเป็นศูนย์กลางในการติดต่อประสานงานต่างๆ อาทิ
แนะนำกฎข้อบังคับในการพักอาศัย 
ด้านตรวจสอบและควบคุมการให้บริการ 
·         ทำการตรวจสอบ  ประเมินผล และควบคุมการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่อย่างสม่ำเสมอจากหัวหน้างานส่วนกลาง 
·         ทำการตรวจสอบและควบคุมการปฏิบัติงานของบุคคลหรือบริษัทภายนอกที่ว่าจ้างมา 
       การประชุม 
·         การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 
·         ประชุมใหญ่วิสามัญ 
·         ประชุมคณะกรรมการ 
       ด้านการรายงาน 
·         รายงานผลการบริหาร และการปฏิบัติงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับหมู่บ้าน 
·         รายงานสถานะการเงิน รายรับ-รายจ่าย ประจำเดือน และประจำปี 
·         รายงานยอดค้างชำระค่าใช้จ่ายแต่ละเดือน และผลการดำเนินการติดตามทวงถาม     
·         รายงานการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขสาธารณูปโภค 
·         รายงานเหตุการณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และเป็นประโยชน์ต่อหมู่บ้าน 
       ด้านกฎหมาย และนิติกรรม 
·         ให้คำปรึกษา แนะนำข้อกฎหมาย และวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับ 
·         กฎหมายต่างๆ 
·         ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญาต่างๆ เช่น สัญญาซื้อขายบ้านและที่ดิน   
·         สัญญาเช่า เช่าซื้อ และสัญญาอื่นๆ 
·         ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับภาษีอากร และปัญหากฎหมายทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับหมู่บ้าน 
·         ฟ้องร้องดำเนินคดีเพื่อรักษาผลประโยชน์ของหมู่บ้าน ต่อสู้คดีในกรณีที่หมู่บ้านถูกฟ้อง
ติดต่อ
บริษัท เอสเอ็มทีไบโอเทค จำกัด
บริษัท พรีม อินเตอร์เกรท แมเนจเม้นท์ จำกัด
บริษัท เอ็นทีแอสเสทแมเนจเม้นท์ จำกัด
อาจารย์ประกิตกาญจนาโกวิทย์  มือถือ 085-969-2424
นางสาวนันท์นิชา แทนสง่า  มือถือ 085-704-8443
370/2 อาคารแฟร์ทาวน์เวอร์สุขุมวิท 50 พระโขนงคลองเตยกทม. 10260
โทรศัพท์ 02-742-7474 โทรสาร 02-986-0404
www.thaimanage.com     Email :  thaimanage@hotmail.com
http://www.thaimanage.com/ 
http://www.prakit.net/ 
thaimanage@hotmail.com